บทคัดย่อ
เกษตรกรชาวสวนยางส่วนใหญ่มีการใช้กรดที่ได้จากการสังเคราะห์ เช่น กรดฟอร์มิก (formic acid) กรดอะซิติก (acetic acid) หรือกรดซัลฟูริก (sulfuric acid) เพื่อเป็นสารจับตัวในน้ายาง ทาให้น้ายางเป็นก้อนเร็วขึ้น (Baimark Niamsa, 2009 ; John et al., 2011) อย่างไรก็ตามการใช้กรดมีข้อเสียก่อให้เกิดมลพิษในน้า ดินและอากาศ (Tekasakul Tekasakul, 2006) และยังมีผลกระทบต่อมนุษย์ เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ เกิดอาการแพ้ มีผื่นแดง (Fernando Dinesh Kaluarachchi, 2012) การใช้กรดอินทรีย์ธรรมชาติเพื่อแปรรูปน้ายางสดเป็นยางก้อนถ้วยหรือยางแผ่น จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่มีความปลอดภัยและไม่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษต่อสิ่งแวดล้อม การหมักกรดอินทรีย์ทาได้โดยนาเศษพืช ผัก ผลไม้ มาหมักกับน้าตาลตามระยะเวลาที่เหมาะสม โดยมีจุลินทรีย์ใช้สารอาหารผลิตกรดอ่อน สามารถนาไปใช้เป็นสารจับตัวในน้ายางสด แทนการใช้กรดที่เป็นสารเคมีได้ การใช้สารชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ช่วยลดต้นทุน การผลิตจึงเป็นทางเลือกใหม่ จากการรายงานของ Phetphaisit et al. (2012) ได้นามะนาว มะกรูด สับปะรดและส้ม มาทาน้าหมักเพื่อทายางแผ่น พบว่าคุณสมบัติทางกายภาพ และเชิงกลไม่มีความแตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบกับกรด ฟอร์มิก
กระบวนการและขั้นตอนการผลิตกรดอินทรีย์ วัตถุดิบที่ใช้ส่วนใหญ่ยังขาดคุณภาพ ทาให้ผลิตภัณฑ์กรดอินทรีย์ ที่ได้มีคุณภาพไม่แน่นอนเนื่องจากต้องอาศัยจุลินทรีย์จากธรรมชาติ ซึ่งส่วนใหญ่มีการปนเปื้อนของยีสต์และจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ เนื่องจากไม่ผ่านกระบวนการกาจัดเชื้อปนเปื้อน กระบวนการหมักด้วยเทคนิคปลอดเชื้อและการใช้หัวเชื้อบริสุทธิ์
zygosaccharomycesrouxii-tistr5044