งบประมาณเงินรายได้ ประเภททุนวิจัยเพื่อสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการตามลักษณะของศาสตร์
ลำดับ | ชื่อโครงการ | นักวิจัย | งบประมาณ | แหล่งทุน | ประเภททุน | สถานะ |
1 | ชุดโครงการวิจัย เรื่อง การสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน | นิภาภรณ์ มีพันธุ์ | 30,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าชุดโครงการ |
2 | โครงการวิจัยย่อยที่ 1 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่น้ำมันปาล์มแดง | นิภาภรณ์ มีพันธุ์ | 90,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าโครงการ |
3 | โครงการวิจัยย่อยที่ 2 : การพัฒนาอาหารผสมครบส่วนจากกากผลปาล์มน้ำมันเพื่อเป็นอาหารแพะขุน | ภูวดล เหมชะรา | 90,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าโครงการ |
4 | ชุดโครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์จากกระจูด | รัตนา วงศ์ชูพันธ์ | 30,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าชุดโครงการ |
5 | โครงการวิจัยย่อยที่ 1 : การประเมินคุณภาพหลอดจากกระจูด | รัตนา วงศ์ชูพันธ์ | 90,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าโครงการ |
6 | โครงการวิจัยย่อยที่ 2 : การออกแบบและการสร้างเครื่องตัดหลอดจากกระจูด | อาดือนา นิโด | 90,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าโครงการ |
7 | โครงการวิจัยย่อยที่ 3 : แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์หลอดจากกระจูดสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน | สายนที จากถิ่น | 90,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าโครงการ |
8 | โครงการวิจัยย่อยที่ 1 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไส้กรอกเห็ดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพบ้านนิคม ตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี | กฤตภาส จินาภาค | 100,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าโครงการ |
9 | ฤทธิ์ของสารสกัดพืชผักพื้นบ้านและสมุนไพรไทยในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แซนทีนออกซิเดนสาเหตุโรคเกาต์ | กิตติมา คงทน | 50,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าโครงการ |
10 | การออกแบบสมาร์ทฟาร์มโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งเพื่อส่งเสริมการเพาะเลี้ยงเห็ดฟ้าภูฐาน ตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี | นิธิศ เสาแก้ว | 50,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าโครงการ |
11 | การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดหยาบและสารบริสุทธ์จากกระพังโหมเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์ข้าวเคลือบสมุนไพร | อุบลทา สมมารถ | 50,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | หัวหน้าโครงการ |
12 | โครงการวิจัยย่อยที่ 3 : การพัฒนาการตลาดและการโฆษณาประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์จากเห็ดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพบ้านนิคม ตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี งบประมาณทั้งหมด 100,000 บาท ดำเนินการ 30% |
ศราวุธ มากชิต (15%) กนกวรรณ แก้วเกาะสะบ้า(15%) |
30,000 | เงินกองทุนวิจัย | ภายใน | ผู้ร่วมวิจัย |
13 | พัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่การส่งเสริมอาชีพ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ตำบลท่าเคย อำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี งบประมาณทั้งหมด 999,560 บาท ดำเนินการ 80 % | สุพรรณิการ์ ศรีบัวทอง | 799,648 | กสศ. | ภายนอก | ผู้ร่วมวิจัย |
14 | โครงการย่อยที่ 3 การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กล้วยหอมทองตกเกรดสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ | พัชณิยา เอกเพชร | 355,000 | กองทุนวิจัย ววน. | ภายนอก | หัวหน้าโครงการ |
15 | โครงการย่อยที่ 4 การศึกษาปริมาณธาตุอาหารหลักและรูปแบบนวัตกรรมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากส่วนต่างๆ ของกล้วยหอมทอง | พรพรหม พรหมเมศร์ | 257,000 | กองทุนวิจัย ววน. | ภายนอก | หัวหน้าโครงการ |
16 | โครงการย่อยที่ 5 การยกระดับกระบวนการผลิตกล้วยหอมทอง | รัชฎาพร ไทยเกิด | 302,600 | กองทุนวิจัย ววน. | ภายนอก | หัวหน้าโครงการ |
17 | โครงการย่อยที่ 6 การบริหารจัดการน้ำจากกระบวนการชะล้างกล้วยหอมทองด้วยการบำบัดน้ำเสียให้เป็นศูนย์ | ชิโนรส ละอองวรรณ | 264,000 | กองทุนวิจัย ววน. | ภายนอก | หัวหน้าโครงการ |
18 | โครงการอนุรักษ์เทียนสิรินธร บริเวณอ่างเก็บน้ำเขื่อนรัชชประภา อุทยานแห่งชาติเขาสก โดยการขยายพันธุ์เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ งบประมาณ 1,844,863 บาท ดำเนินการ 3 ปี | ไซนีย๊ะ สะมาลา | 614,954 | การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย | ภายนอก | หัวหน้าโครงการ |
19 | นวัตกรรมยางพาราสำหรับการแปรรูปและทดแทนวัสดุสมัยเก่าเพื่ออุตสาหกรรมในอนาคตของประเทศไทย | ชัยนุสนธ์ เกษตรพงษ์ศาล | 2,493,000 | วช. | ภายนอก | หัวหน้าโครงการ |
20 | การประเมินศักยภาพของของเหลือทิ้งทางการเกษตรในพื้นที่แปลงปลูกข้าวเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ถ่านชีวภาพในการกำจัดยาปราบศัตรูพืชกลุ่มอินทรีย์สาร โลหะหนักตะกั่วและแคดเมียมในพืชผักสวนครัว | นรานันท์ ขำมณี | 450,000 | วช. | ภายนอก | หัวหน้าโครงการ |
21 | การสำรวจการปรับตัวของชุมชนวิถีใหม่ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดระนอง และจังหวัดชุมพร โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี งบประมาณทั้งหมด 1,022,200 บาท ดำเนินการ 20% | พงษ์ศักดิ์ นพรัตน์ ปานชนม์ โชคประสิทธิ์ |
204,440 | วช. | ภายนอก | ผู้ร่วมวิจัย |
22 | โครงการย่อยที่ 3 การสร้างมูลค่าเพิ่มข้าวหักด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมจากเครือข่าวชาวนาปัตตานี กรณีศึกษาหมู่ที่ 2 บ้านท่าด่าน ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ทุนวิจัยทั้งหมด 320,000 บาท ดำเนินการ 20% | อรุโณทัย เจือมณี | 64,000 | วช. | ภายนอก | ผู้ร่วมวิจัย |
23 | การยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์บนฐานภูมิปัญญาอาหารพื้นถิ่นเส้นทางท่องเที่ยวชุมชนตำบลลีเล็ด อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี งบประมาณทั้งหมด 300,000 บาท ดำเนินการ 15% | สุกัญญา ไหมเครือแก้ว | 45,000 | วช. | ภายนอก | ผู้ร่วมวิจัย |
24 | การพัฒนาระบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมืองภาคใต้และภาคตะวันออกภายใต้แผนงานไทยอารี งบประมาณทั้งหมด 5,250,000 บาท ดำเนินการ 20% | คันธรส สุขกุล อนุวัฒน์ อัคคีสุวรรณ์ ศันสนีย์ วงศ์ชนะ |
1,050,000 | วช. | ภายนอก | ผู้ร่วมวิจัย |
25 | การพัฒนาการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากชีวมวลจาก | พงษ์ศักดิ์ นพรัตน์ | 100,000 | สกอ.ภาคใต้ตอนบน | ภายนอก | หัวหน้าโครงการ |
26 | การพัฒนาหัวเชื้อจุลินทรีย์ในการย่อยสลายน้ำมันและไขมันในน้ำเสีย | พงษ์ศักดิ์ นพรัตน์ | 30,000 | อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ภายนอก | หัวหน้าโครงการ |