Skip to content

Welcome

Business hours 08:30 - 16:30 on business days and hours. Saturday-Sunday from 08:30 - 16:30 according to the academic calendar.

The Dean of the Faculty of Science and Technology's office is located in the Faculty of Science and Technology building. Surat Thani Rajabhat University 272 Moo 9, Khun Thale Subdistrict, Mueang District, Surat Thani Province 84100.

Get In Touch

Email: sci@sru.ac.th
Phone: 077-913-366
Address: 272 Moo 9, Khun Thale Subdistrict, Mueang District, Surat Thani Province 84100

Our Location

เกษตรกรชาวสวนยางส่วนใหญ่มีการใช้กรดที่ได้จากการสังเคราะห์ เช่น กรดฟอร์มิก (formic acid) กรดอะซิติก (acetic acid) หรือกรดซัลฟูริก (sulfuric acid) เพื่อเป็นสารจับตัวในน้ายาง ทาให้น้ายางเป็นก้อนเร็วขึ้น (Baimark Niamsa, 2009 ; John et al., 2011) อย่างไรก็ตามการใช้กรดมีข้อเสียก่อให้เกิดมลพิษในน้า ดินและอากาศ (Tekasakul Tekasakul, 2006) และยังมีผลกระทบต่อมนุษย์ เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ เกิดอาการแพ้ มีผื่นแดง (Fernando Dinesh Kaluarachchi, 2012) การใช้กรดอินทรีย์ธรรมชาติเพื่อแปรรูปน้ายางสดเป็นยางก้อนถ้วยหรือยางแผ่น จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่มีความปลอดภัยและไม่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษต่อสิ่งแวดล้อม การหมักกรดอินทรีย์ทาได้โดยนาเศษพืช ผัก ผลไม้ มาหมักกับน้าตาลตามระยะเวลาที่เหมาะสม โดยมีจุลินทรีย์ใช้สารอาหารผลิตกรดอ่อน สามารถนาไปใช้เป็นสารจับตัวในน้ายางสด แทนการใช้กรดที่เป็นสารเคมีได้ การใช้สารชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ช่วยลดต้นทุน การผลิตจึงเป็นทางเลือกใหม่ จากการรายงานของ Phetphaisit et al. (2012) ได้นามะนาว มะกรูด สับปะรดและส้ม มาทาน้าหมักเพื่อทายางแผ่น พบว่าคุณสมบัติทางกายภาพ และเชิงกลไม่มีความแตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบกับกรด ฟอร์มิก
กระบวนการและขั้นตอนการผลิตกรดอินทรีย์ วัตถุดิบที่ใช้ส่วนใหญ่ยังขาดคุณภาพ ทาให้ผลิตภัณฑ์กรดอินทรีย์ ที่ได้มีคุณภาพไม่แน่นอนเนื่องจากต้องอาศัยจุลินทรีย์จากธรรมชาติ ซึ่งส่วนใหญ่มีการปนเปื้อนของยีสต์และจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ เนื่องจากไม่ผ่านกระบวนการกาจัดเชื้อปนเปื้อน กระบวนการหมักด้วยเทคนิคปลอดเชื้อและการใช้หัวเชื้อบริสุทธิ์

zygosaccharomycesrouxii-tistr5044

Back To Top