การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) ศึกษาการใช้ประโยชน์และความรู้ความเช้าใจ เกี่ยวกับแมลงในท้องถิ่นของเกษตรกรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
2) พัฒนาขุดอบรมเรื่อง การใช้ประโยชน์จากแมลงในท้องถิ่นของเกษตรกร
3) ศีกษาผลการทดลองใช้ขุด’ฝิกอบรม และผลการดำเนินการ’ฝืกอบรม ศึกษาการใช้ประโยขน์จากแมลง โดยล้มภาษณเกษตรกร จังหวัดสุราษฎร์ธานี 70 คน ศึกษาความรูความเข้าใจเรื่องแมลง โดยจัดการสนทนากลุ่ม เกษตรกรและผู้เกี่ยวข้อง 10 คน เพื่อกำหนดแนวทางการสร้างขุดฝ็กอบรมเรื่อง การใช้ประโยชน์จากแมลงในท้องถิ่นของเกษตรกร และทดลองใช้ขุดดูกอบรบ โดยเลือก กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเป็นเกษตรกรผู้ทำการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์ 33 คน
ผลการวิจัย พบว่า
1) เกษตรกรใช้แมลงเป็นอาหาร 13 ชนิด คือ ด้วงงวงมะพร้าว ด้วงรำข้าวสาลี แมลงนูนหลวง จักจั่น มดแดง ต่อหัวเสือ ผิ้งพันธุ ผึ้งโพรง ผึ่งหลวง ชันโรง แมลงเม่า หนอนผีเสื้อด้นตาตุ่ม จิ้งหรีด และ นำมดแดง ต่อหัวเสือ ผึ่งพันธ์ และชันโรง ช่วยเพิ่มผลผลิตเกษตร 2) เกษตรกรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของแมลง ในท้องถิ่นต้องการฉกอบรมเรื่องเกี่ยวกับแมลงในท้องถิ่น 3) ขุดดูกอบรมที่สร้างขี้นมีเนื้อหา 5 เรื่อง คือ (1) ความรู้เกี่ยวกับแมลงในท้องถิ่น (2) การป๋องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยขีววิธี (3) กับดักแมลง (a) การเลึ๋ยงชัน’โรง (5) การเลื้ยงหนอนด้วงรำข้าวสาลี
This research was aimed 1) to study the utilization and understanding of local insects by the farmers in Surat Thani Province, 2) to developed a training set on utilization of local insects by the farmers, 3) to study the effectiveness of the training set and the training result. Seventy farmers in Surat Thani Province were interviewed with the aid of a standard form to compile the utilization methods. A focus group discussion comprising of 10 members representing farmers and parties involved was carried out in order to setup a guideline for the training set development. Later on, 33 organic farmers were purposive sampling and trained with the developed training set.
It was found that 1) Thirteen (13) kinds of insects are utilized as food namely Rhynchophorus jerrugineus, Tenebrio molitor, Lepidiota stigma, Dundubia intermerata, Oecophylla smoragdina, Vespa affinis, Apis meUi/era, Apis cerana, Apis dorsata, Tetragonula pegdeni, Odontotermes spp., Achaea janata, Gryllus bimaculata while red ant, wasp, bee and stingless bee were employed in help increasing agricultural production. 2) The farmers did not know the importance of local insects and in need of training, 3) The developed training set consisting of 5 parts which are (1) knowledge of local insects, (2) prevention and elimination of pest by biological methods, (3) traps, (4) rearing of stingless bee (Tetragonula sp.), (5) rearing of mealworm (Tenebrio molitor). With the test paper having difficulty value of 0.39-0.76, discrimination value of 0.22-0.46, and confident value of 0.89 the training set showed efficiency value of 83.46/84.60 under the criteria of 80/80. 4) After employment of the training set the average test score of participants were 14.12 and 26.52 before and after the training respectively at the confident level of .05. The farmers agreed on the appropriateness of the training at high level (x= 4.32).
development-of-a-training-package-on-utilization-of-local-insects-of-farmers