การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ
1) เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเสนอเนื้อหา บนเครือข่ายอินเทอร์ฌ็ต เรื่อง สถิติเชิงพรรณนาและทฤษฎีความน่าจะเป็น วิชาสถิติสำหรับนักวิทยาศาสตร์ 2) เพื่อ หาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเสนอเนื้อหาบนเครือข่ายอินเทอร์ฌ็ต เรื่อง สถิติพรรณนาและ ทฤษฎีความน่าจะเป็น วิชาสถิติสำหรับนักวิทยาศาสตร์ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่ระดับ 80/80 3) เพื่อศึกษาผลลัมฤทธื้ทางการเรียนของนักเรียน ที่เรียนเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่าย อินเทอร์ฌ็ต ก่อนเรียนและหลังเรียน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช่ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตริ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ ลงทะเบียนเรียนในวิชาสถิติสำหรับนักวิทยาศาสตร์ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี จำนวน 30 คน ได้มาจากการลุ่มแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีค่าเท่ากับ 82.44/83.08 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80/80
2. นักศึกษาที่เรียนเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบเสนอเนื้อหาบนเครือข่ายอินเทอร์ฌ็ต วิชาสถิติสำหรับนักวิทยาศาสตร์ เรื่อง สถิติเชิงพรรณนาและทฤษฎีความน่าจะเป็น มีผลลัมฤทธื้ทางการเรียนสูงขี้น โดยมีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
The purposes of the research were 1) to develop of computer assisted Instruction online packages on the topic of descriptive statistics and probability theory, 2) to find the efficiency of development of computer assisted Instruction online packages on the topic of descriptive statistics and probability theory base on the standardized criteria of 80/80 and 3) to study the training achievement after learning with this online packages on the topic of descriptive statistics and probability theory.
The sampling groups were 30 undergraduate students of computer science department, faculty of science and technology, Suratthani Rajabhat University through Purposive sampling. The research findings were as follow:
1. The efficiency of computer assisted instruction was 82.44/83.08 that higher than the criterion provided 80/80.
2. There was significantly higher learning achievement of the student in the posttest than in the pretest at .05 levels.