Abstract
A study on radiation of ultraviolet-C (UV-C) on induction mutation from shoot apices and axillary buds of My Valentine rose was carried out. Dose rates of UV-C at 10.8, 16.2, 21.6, 27 and 32.4 kJ per square meter were applied. After irradiation both explants were cultured on solidified MS (Murashige and Skoog) medium supplemented with 0.5 mg/l BA (benzyladenine) for 30 days. The results showed that survival rate of shoot apices after exposure with UV-C at the dose 27 kJ per square meter decreased at 50% (LD50) as evaluating by regression analysis. For axillary buds there was not different in survival rate among the doses of UV-C. However, morphological characters of leaves derived from irradiated shoot apices were not different from control treatment. เท contrast, leaf morphology and number of shoots produced from irradiated axillary buds were altered. The neoformation of leaves was single leaf instead of trifoliage ones. The number of multiple shoots per explants was lower than control treatment. เท addition, growth rate of shoots decreased by increasing the dose rate of UV-C. Moreover, axillary buds irradiated at dose rate 21.6 and 27 kJ per square meter produced a dark green with large and thick leaves. So far, axillary buds of My Valentine rose were appropriate explants for induction mutations by UV-C irradiation at dosimetry of 21.6 and 27 kJ per square meter.
บทคัดย่อ
จากการขักน่าให้เกิดการกลายพันธุของกุหลาบพันธุมายวาเลนไทป้ โดยการฉายรังสีอัลตราไวโอเลตชี (UV-C) กับชิ้นส่วนยอด และข้อ ปริมาณรังสี 10.8 16.2 21.6 27 และ 32.4 กิโลจูลต่อตารางเมตร จากนั้นวางเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS (Murashige and skoog) ที่เติม BA (benzyladenine) 0.5 มลลิกรัมต่อลิตร เป็นเวลา 30 วัน พบว่า ชิ้นส่วนข้อที่ได้รับรังสีปริมาณ 27 กิโลลูลต่อตารางเมตร ให้อัตราการรอดขีวิตลดลง ครึ่งหนึ่ง (LD50) เมื่อวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอย ชิ้นส่วนปลายยอดให้อัตราการรอดขีวิตไม่แตกต่างจากขุดควบคุม เมึ่อย้ายเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตรเดม เป็นเวลา 1 เดือน พบว่าชิ้นส่วนยอด มีลัก,ษณะทางสัณฐานวิทยาไม่แตกต่างกับขุดควบคุม ในขณะที่ชิ้นส่วนข้อที่ได้รับรังสีทุกความเข้มข้น มีลักบณะที่ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม คือเปลี่ยนจากใบประกอบที่มี 3 ใบย่อย เป็นใบย่อยเพียงใบเดืยว ส่วนจำนวนยอดรวมโดยเฉลี่ยต่อชิ้นส่วนน้อยกว่าขุดควบคุม นอกจากนี้การเจริญเติบโตลดลงตามปริมาณรังสีที่เพิ่มขึ้น สำหรับชิ้นส่วนข้อที่ได้รับรังสีปริมาณ 21.6 และ 27 กิโลธุเลต่อตารางเมตร ใบมีสีเขียวเข้ม ขนาดใหญ่ และหนา ดังนั้นการขักนำให้เกิดการกลายพันธุ!ดยการฉายรังสีอัลตราไวโอเลตขีที่เหมาะสมต่อกุหลาบพันธุมายวาเลนไทน์ คือการใข้ชิ้นส่วน ข้อฉายรังสีปริมาณ 21.6 และ 27 กิโลจูลต่อตารางเมตร
Induced-Mutation-in-My-Valentine-Rose-by-Ultraviolet-C-Radiation