บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี ผู้วิจัยได้พัฒนาและวิเคราะห์ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์การระบาดของโรคมาลาเรียโดยกำหนดตัวแบบในรูประบบสมการเชิงอนุพันธ์ไม่เชิงเส้นของประชากรคนและประชากรยุง ผู้วิจัยได้เพิ่มพารามิเตอร์
ที่สนใจคืออัตราการใช้ยากันยุง(P)แล้ววิเคราะห์ตัวแบบโดยวิธีมาตรฐานคือหาจุดสมดุล 2 จุด คำนวณค่าระดับการติดเชื้อ0 ( ) Rโดยใช้วิธีรุ่นถัดไป หาเงื่อนไขที่ท าให้เกิดความเสถียรภาพของจุดสมดุลและน ามาแสดงในรูปของค่าระดับการติดเชื ้อ หาค าตอบเชิงตัวเลขเพื่อน าค าตอบที่ได้มาสนับสนุนผลการวิเคราะห์เชิงทฤษฎี ผลการวิจัย
พบว่าเมื่อคนกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื ้อมีอัตราการใช้ยากันยุงในปริมาณมาก โดยกำหนดให้P = 0.9 จะทำให้คนติดเชื้อโรคมาลาเรียน้อยลง0R = 0.53356 < 1 แสดงว่าไม่เกิดการแพร่ระบาดของโรค และเมื่อคนกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อมีอัตราการใช้ยากันยุงในปริมาณน้อย โดยก าหนดให้P = 0.01จะท าให้คนติดเชื ้อโรคมาลาเรียมากขึ้น0R = 1.67881208 > 1 แสดงว่าเกิดการแพร่ระบาดของโรค
math-malaria